วันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2556

เซลล์ (Cell) คือ อะไร (What is Cell ?)



เซลล์ (cell)
     เซลล์ (Cell) คือ หน่วยเล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต โดยเซลล์(cell) มาจากคำว่า Cella ในภาษาละติน ซึ่งมีความหมายว่าห้องเล็ก ๆ


     เซลล์ (Cell)สามารถเพิ่มจำนวน เจริญเติบโตและตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ เซลล์บางชนิดเคลื่อนที่ได้ด้วยตัวเอง เช่น เซลล์อสุจิ เป็นต้น
     เซลล์ (Cell)มีอยู่หลายชนิดซึ่งมีรูปร่างและลักษณะที่แตกต่างกันไปตามตำแหน่งที่อยู่ของเซลล์(cell)และหน้าที่การทำงานของเซลล์(cell) แต่เซลล์(cell)มีโครงสร้างที่สำคัญอยู่ 3 ส่วน ที่มีเหมือนกัน คือ เยื่อหุ้มเซลล์(cell membrane) ไซโตพลาซึม(cytoplasm)และนิวเคลียส(nucleus) โดยเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) เป็นส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์(cell)และกั้นเซลล์(cell)จากสิ่งแวดล้อมภายนอก ภายในเซลล์(cell)มีโครงสร้างเล็ก ๆ เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (Organelle) ล่องลอยอยู่ในส่วนของเหลวที่เรียกว่า ไซโตซอล (cytosol) ออร์แกเนลล์เหล่านี้ทำหน้าที่ต่าง ๆ กันมีนิวเคลียส(Nucleus) เป็นศูนย์กลางควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึม(metabolism)ต่าง ๆและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
     สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต่างก็ประกอบด้วยเซลล์(cell)ซึ่งเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดที่สามารถบ่งบอกถึงคุณสมบัติและแสดงความเป็นสิ่งมีชีวิตอย่างชัดเจนสมบูรณ์ เซลล์(cell)ช่วยในการสร้างและซ่อมแซม ผิวหนัง กล้ามเนื้อ กระดูก อวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
     มีเซลล์(cell)อยู่ในร่างกายของคนเรามากมายหลายชนิด ซึ่งเซลล์(cell)แต่ละชนิดจะมีหน้าที่แตกต่างกันไป เช่น เซลล์(cell)ของกล้ามเนื้อหัวใจ จะทำหน้าที่กระตุ้นหัวใจให้เกิดการทำงาน, เซลล์(cell)ของตับอ่อน จะทำหน้าที่ในการผลิตอินซูลิน(insulin)ที่สามารถช่วยเปลี่ยนสารอาหารเป็นพลังงานให้กับร่างกาย
     ในปี พ.ศ.2208 (ค.ศ. 1665) โรเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke) ซึ่งเป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ทำการประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์ประกอบมาใช้ในการศึกษาเนื้อเยื่อของไม้คอร์ก พบว่าเนื้อเยื่อของไม้คอร์ก ประกอบด้วยช่องว่างเล็ก ๆ จำนวนมาก แล้วเรียกช่องที่ว่านี้ว่า “เซลล์ (cell)” ซึ่งเป็นเซลล์(cell)ที่ตายแล้วแต่ยังสามารถคงรูปให้อยู่ได้เพราะมีผนังเซลล์(cell wall)ซึ่งมีความแข็ง หลังจากนั้นก็ทำการค้นคว้าศึกษาในเรื่องของ เซลล์(cell)ของพืช เซลล์(cell)ของสัตว์และเซลล์(cell)ของจุลินทรีย์ต่างๆ เรื่อยมา จนในปี พ.ศ.2382 (ค.ศ. 1839) นักวิทยาศาสตร์ชื่อ ทีโอดอร์ ชวานน์(Theodor Schwann) และ แมตเทียส จาคอบ ชไลเดน(Matthias Jakob Schleiden) (ทั้งคู่เป็นชาวเยอรมัน)ได้ร่วมกันตั้งทฤษฎีเซลล์ (cell theory)ขึ้นมา
  

หัวข้ออื่นที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ


หัวข้อความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพ (Topics of biotechnology) หัวข้อความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพ (Topics of biotechnology)
หัวข้อหลัก เทคโนโลยีชีวภาพ คือ อะไร
  หัวข้อย่อย การใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีชีวภาพ
  หัวข้อย่อย ประวัติของ เทคโนโลยีชีวภาพ
หัวข้อหลัก พันธุวิศวกรรม คือ อะไร
  หัวข้อย่อย การใช้ประโยชน์จาก พันธุวิศวกรรม
  หัวข้อย่อย พันธุวิศวกรรมกับเทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวข้องกันอย่างไร
  หัวข้อย่อย พันธุวิศวกรรมกับการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
หัวข้อหลัก จีเอ็มโอ ( GMOs ) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย พืช GMOs คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 ตัวอย่างของ พืช GMOs หรือ พืชดัดแปลงพันธุกรรม
    หัวข้อย่อยระดับ 2 เทคนิคที่ใช้ในการถ่ายฝากยีนเข้าสู่พืช
    หัวข้อย่อยระดับ 2 ปัจจัยที่มีส่วนสำคัญในการถ่ายฝากยีนเข้าสู่พืช
  หัวข้อย่อย ข้อดี หรือ ประโยชน์ ของ GMOs
  หัวข้อย่อย ข้อเสีย หรือ ผลเสีย ของ GMOs
  หัวข้อย่อย ข้อแตกต่างระหว่าง GMOs กับ GMO
หัวข้อหลัก จีโนม (Genome) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย จีโนมิกส์ (Genomics) คือ อะไร
หัวข้อหลัก การโคลนนิ่ง (Cloning) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ประโยชน์ หรือ ข้อดี ของการโคลนนิ่ง
  หัวข้อย่อย ข้อเสีย หรือ ผลเสีย ของการโคลนนิ่ง
  หัวข้อย่อย ประวัติการโคลนนิ่ง
  หัวข้อย่อย การโคลนนิ่งมนุษย์
  หัวข้อย่อย การโคลนนิ่งสัตว์
  หัวข้อย่อย การโคลนนิ่งพืช
หัวข้อหลัก การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช คืออะไร
  หัวข้อย่อย การใช้ประโยชน์จาก การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
หัวข้อหลัก พันธุกรรม คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โรคทางพันธุกรรม(genetic disorder) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 โรคทริปเปิ้ล X หรือ ทริปเปิ้ลเอ็กซ์ซินโดรม หรือ กลุ่มอาการทริปเปิ้ลเอ็กซ์ (Triple X Syndrome) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 เอ็ดเวิร์ดซินโดรม หรือ กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด (Edward’s Syndrome) คือ อะไร
หัวข้อหลัก การกลายพันธุ์ หรือ มิวเทชั่น (mutation) คือ อะไร
หัวข้อหลัก ชีววิทยา คือ อะไร
หัวข้อหลัก พันธุศาสตร์ (Genetics) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย เมนเดล(Mendel) คือ ใคร (ชีวประวัติของเกรเกอร์ เมนเดล)
หัวข้อหลัก นิติวิทยาศาสตร์ (Forensic Science) คือ อะไร
หัวข้อหลัก อณูชีววิทยา (Molecular biology) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย PCR (พีซีอาร์) คือ อะไร
หัวข้อหลัก ชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics) คือ อะไร
หัวข้อหลัก เซลล์ (Cell) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย สเต็มเซลล์ (Stem Cell) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ออร์แกเนลล์ (organelle) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 นิวเคลียส (Nucleus) คือ อะไร
      หัวข้อย่อยระดับ 3 นิวคลีโอลัส (Nucleolus) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 ไรโบโซม (Ribosome) คือ อะไร
หัวข้อหลัก โครโมโซม (chromosome) คืออะไร
  หัวข้อย่อย โครงสร้างของโครโมโซม
  หัวข้อย่อย ออโตโซม (autosome) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โครโมโซมเพศ (sex chromosome) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โครมาทิน (chromatin) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โครมาทิด (chromatid) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ความแตกต่างระหว่าง โครมาทิน (chromatin) กับ โครมาทิด (chromatid)
  หัวข้อย่อย โฮโมโลกัสโครโมโซม(Homologous chromosome) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย นิวคลีโอโซม (Nucleosome) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โปรตีนฮิสโตน (histone protein) คือ อะไร
หัวข้อหลัก ดีเอ็นเอ (DNA) คืออะไร
  หัวข้อย่อย ความแตกต่างระหว่าง ยีน(gene) ดีเอ็นเอ(DNA) และ โครโมโซม(Chromosome)
  หัวข้อย่อย โครงสร้างของดีเอ็นเอ
  หัวข้อย่อย องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
  หัวข้อย่อย หน้าที่ของดีเอ็นเอ
  หัวข้อย่อย ความแตกต่างระหว่างดีเอ็นเอ(DNA)และอาร์เอ็นเอ(RNA)
  หัวข้อย่อย การจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ (DNA replication) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 ขั้นตอนการจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ(DNA replication)
    หัวข้อย่อยระดับ 2 รูปแบบการจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ
หัวข้อหลัก ยีน (gene) คืออะไร
  หัวข้อย่อย ยีนเด่น (dominant gene) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ยีนด้อย (recessive gene) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โฮโมไซกัส ยีน(homozygous gene) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย เฮเทอโรไซกัส ยีน(heterozygous gene) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย แอลลีล หรือ อัลลีล (Allele) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 แอลลีลเด่น(dominant allele) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 แอลลีลด้อย(recessive allele) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย จีโนไทป์ (Genotype) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ฟีโนไทป์ (Phenotype) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย การถอดรหัส (Transcription) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย การแปลรหัส (Translation) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย อินตรอน (intron) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย เอ็กซอน (exon) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ยีนโครงสร้าง คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ยีนควบคุม คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โลคัส (locus) คือ อะไร
หัวข้อหลัก อาร์เอ็นเอ (RNA) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย เอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA) หรือ เมสเซนเจอร์ อาร์เอ็นเอ (messenger RNA) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ทีอาร์เอ็นเอ (tRNA) หรือ ทรานสเฟอร์ อาร์เอ็นเอ (transfer RNA) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย อาร์อาร์เอ็นเอ (rRNA) หรือ ไรโบโซมอล อาร์เอ็นเอ (ribosomal RNA) คือ อะไร